ใครๆก็แก้กฎหมายได้(คุณก็ด้วย)
Bookmark and Share

วันอาทิตย์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

19 March 2010 Pacific Room, 21st Fl. the Pan Pacific Bangkok Hotel, Silom

วันที่ 01 มีนาคม พ.ศ. 2553 ปีที่ 33 ฉบับที่ 4188  ประชาชาติธุรกิจ


เปิดความคิด 12 แผนธุรกิจรอบชิงชนะเลิศ




12 ทีมสุดท้ายในการแข่งขันแผนธุรกิจเพื่อสังคม GSVC ในรอบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ผ่านมาคัดเลือกและทดสอบจากคณะกรรมการกว่า 90 คนจากหลากหลายสาขา แต่ละทีมมีดีอะไรมาโชว์บ้าง ลองพิจารณาตามด้านล่างนี้ ไม่แน่ธุรกิจของนักศึกษาและผู้ประกอบการรุ่นใหม่เหล่านี้อาจเป็นไอเดียและ ต่อยอดความคิดให้กับผู้สนใจประกอบกิจการเพื่อสังคมในอนาคตได้

ลาว

- ไย-ซิน จากมหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว ผลิตของที่ระลึกจากใยกล้วย ซึ่งเป็นของเหลือใช้จำนวนมากในท้องถิ่น

อินโดนีเซีย

- อมานเดส จากปราเซติย่า มูลยา บิสซิเนส สกูล ผลิตน้ำดื่ม โดยใช้เทคโนโลยีใหม่จากการกลั่นน้ำทะเลด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อช่วยชุมชนยากจนที่ขาดแคลนแหล่งน้ำจืด ตามชายฝั่งทะเลของหมู่เกาะอินโดนีเซีย

- อควาเทค จากปราเซติย่า มูลยา บิสซิเนส สกูล รีไซเคิลน้ำใช้แล้วให้เป็นน้ำดี เพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ในชุมชนห่างไกลที่ขาดแคลนแหล่งน้ำ โดยใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีเมมเบรน

ฟิลิปปินส์

- ปูโน จากอเทเนโอ เดอ มะนิลา แกรดูเอต สกูล ออฟ บิสซิเนส ผลิตและจัดจำหน่าย จัดหาผลิตภัณฑ์ในครัวเรือนและผลิตภัณฑ์ดูแลเฉพาะตัวผ่านระบบการเติมสินค้าใน บรรจุภัณฑ์ เพื่อลดปริมาณขยะลดทิ้งจากบรรจุภัณฑ์

สิงคโปร์

- อินนิงส์ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนันยาง ให้บริการดูแลคนชราในสิงคโปร์

- ฟอร์ม พลาสติก ทู เปเปอร์ จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนันยาง รีไซเคิล พลาสติก เหลือใช้ให้เป็นกระดาษด้วยนวัตกรรมใหม่ในการรีไซเคิล

เวียดนาม

- อีเอสอีเอส จากมหาวิทยาลัยการค้าต่างประเทศ จำหน่ายพลังงานทดแทนที่ได้จากของเหลือในภาคการเกษตร และผลิตคาร์บอนน้อย

- กรีนนิ จากมหาวิทยาลัยการค้าต่างประเทศ ผู้ให้บริการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (อีโคทัวริสม์) สำหรับเด็กและเยาวชน ด้วยการนำเสนอการท่องเที่ยวและให้ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมของเวียดนาม

- อีโคฟีด จากมหาวิทยาลัยอาร์เอ็มไอที ผลิตอาหารสัตว์เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและช่วยลดปริมาณขยะจากภาคการเกษตร

ไทย

- ฟรีแฮป จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผลิตเว็บไซต์สร้างเครือข่ายสังคมแบ่งปันความสุขในสังคม และแบ่งรายได้ให้โครงการเพื่อสังคม

- อควาเรียล จากมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ผลิตระบบปิดสำหรับเลี้ยงสัตว์น้ำ เพื่อให้ยืดระยะเวลาการเปลี่ยนน้ำจากต้องเปลี่ยนทุกสัปดาห์เป็นปีละ 1 ครั้ง และเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงต่อพื้นที่ เพื่อประหยัดน้ำ และลดการถ่ายเทของเสีย

- โพลีเมอร์ อาร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จำหน่ายปุ๋ยป้องกันการระเหยของแร่ธาตุและคุณค่าสารอาหารพืช ด้วยการนำเทคโนโลยีโพลีเมอร์มาใช้ผลิตปุ๋ย ให้เกษตรกรสามารถใช้ปุ๋ยในปริมาณที่น้อยลงแต่มีประสิทธิภาพมากขึ้น

นอกจากนี้ ในวันที่ 19 มีนาคมยังมีการสัมมนาการประกอบการเพื่อสังคม ผู้เข้าร่วมงานจะได้รับฟังประสบการณ์จากผู้ประกอบการเพื่อสังคม อาทิ บาทหลวง ซาเวียร์ อัลพาซา ผู้ก่อตั้ง Rag to Riches บริษัทเปลี่ยนขยะจากเศษผ้าเหลือทิ้งในโรงงานให้เป็นเสื้อผ้าแฟชั่นและของ แต่งบ้านตลาดไฮเอท ด้วยฝีมือการผลิตของ สตรีในชุมชนแออัดและการออกแบบของ ดีไซเนอร์ชื่อดังของฟิลิปปินส์

รวมทั้งดาร์รีน ชานเนซ ผู้ก่อตั้งตลาดหลักทรัพย์ธุรกิจเพื่อสังคมแห่งแรกในเอเชีย "Impact Investment Exchange" ซารา โอลเชน ผู้ก่อตั้งโซเชียล เวนเจอร์ เทคโนโลยี กรุ๊ป บริษัทด้านการวัดมูลค่าของธุรกิจที่มีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมในระดับโลก และเควิน เตา ผู้ก่อตั้งโวลานส์บริษัทที่ปรึกษา วิจัยและให้การสนับสนุนธุรกิจเพื่อสังคม เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมในการแก้ปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อม

ผู้สนใจ เข้าร่วมสัมมนาสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน www.gsvc-sea.org โดยการสัมมนามีแปลภาษาไทย และไม่มีค่าใช้จ่าย แต่สามารถสำรองที่นั่งล่วงหน้าได้ด้วยการบริจาคเงินจำนวน 1,000 บาทต่อ 1 ที่นั่งเพื่อเป็นทุนสนับสนุนการทำงานของ จีเอสวีซีได้


หน้า 25
http://www.prachachat.net/view_news.php?newsid=02csr02010353&sectionid=0221&day=2010-03-01

Social Entrepreneurship Symposium

19 March 2010

Pacific Room, 21st Fl.
the Pan Pacific Bangkok Hotel, Silom

Click here for registration

Agenda

8: 30 AM Registration
9:00 AM Opening Keynote Speaker:
Fr. Xavier Alpasa

2009 TED Fellow, and Chairman of the Board of Rags2Riches, which creates high-end designer clothing from recycled scrap materials from garment factories and made by empowered women from poor communities in the Philippines.

9:30 AM Session One Panel:
Social Entrepreneurship as a Competitive Strategy
,
What is social entrepreneurship and how for-profit companies, social ventures and non-profit organization turn it into their achievement?
Chris Cusano

Director of Ashoka's Entrepreneur to Enrepreneur Program in Asia, helping business leaders to engage with Ashoka fellows through investment, support, or partnering activities.

Roberto Piccioni

Faculty Advisor, Green MBA, the new generation of MBA program that seeks to promote financial viability, ecological sustainability, and social justice in business and organizations of all types at Dominican University of California

Sarinee Achavanuntakul

Editor of Open Online, a web magazine in Thai, Co-founder of Thai Netizen Network with the campaign about Internet freedom in Thailand; and Finance Sub-Committee of Thailand's National Social Enterprise Committee

DTAC representative

The mobile phone service provider who delivers up-to-the-minute agricultural and market information by sms to more than 160,000 farmer subscribers across Thailand

11:00 AM ----- Morning Break -----
11:30 AM Session Two Panel: Measuring Social Impact and Using the Results,
How to capture the non-financial impact of business activities from CSR to social product/service and integrate the value within operations.
Sara Olsen

Founding Partner of Social Venture Technology Group, which excels at helping companies measure, manage and communicate Social and Environmental Impact. Sara is also one of the GSVC's co-founders.

R. Paul Herman

Founder of HIP Investor (Human Impact + Profit), and creator of the HIP Index, which measures publicly traded companies in the areas of Human Impact and Profitability. He is also the author of The HIP Investor: Make Bigger Profits by Building a Better World, to be released by Wiley in April 2010.

SCG representative

The Thai company who received Gold Class-Outstanding Sustainability Results from Dow Jones Sustainability Index (DJSI) and launched "Eco Value" the first eco-label guaranteed by Thai company.

1:00 PM ----- Lunch Break -----
2:30 PM 2010 Global Social Venture Competition â€"Southeast Asia Winner Presentations.
2:45 PM Session Three Panel: Getting your Social Enterprise Ideas off the Ground,
Lessons learned sharing from successful social entrepreneurs for all aspects.
Durreen Shanaz

2010 TED Fellow, and Founder and Chairman of the Impact Investment Exchange, Asia's first regulated securities market, trading in sustainable for-profit and not-for-profit social enterprises.

Alexander Reyes

Founder of RuralLight, a social enterprise that empowers off-grid communities in pursuing sustainable solutions in renewable energy

Representative from Digital Divide Data (DDD)

A social enterprise which provides world-class IT services, while creating opportunities for disadvantaged individuals in developing countries to participate in the global economy.

Representative from EnerGaia

An environmental company specializing in using algae to consume waste CO2 generated by industrial sources such as fossil fuel power plants, biomass facilities, and cement factories.

4:15 PM Closing Key Note Speaker:
Kevin Teo

Founder and Director of Volans, a worldwide think-tank, consultancy, broker, and incubator for developing scalable innovations for society and the environment. Volans recently published The Phoenix Economy: 50 Pioneers in the Business of Social Innovation, exploring the leaders, business models, and technologies which will drive the future.

4:45 PM Afternoon Break & Networking


--
โปรดอ่าน blog
www.pridiinstitute.com
www.nakkhaothai.com
www.pcpthai.org
http://wdpress.blog.co.uk
http://www.cedthai.com/
http://rsm2009-rsm2009.blogspot.com
http://twitter.com/sweetblog
http://twitter.com/oknewsblog
http://twitter.com/okblogger
http://twitter.com/sat191
http://www.pacc.go.th/
http://twitter.com/okblogchan
http://twitter.com/sun1951
http://twitter.com/smeblogger
http://twitter.com/seminarblog
http://twitter.com/sunnewsblog
http://twitter.com/okworldblog
http://twitter.com/ktblogger
http://twitter.com/sundayblog
http://twitter.com/mondayblog
http://twitter.com/tuesdayblog
http://twitter.com/wednesdayblog
http://twitter.com/thursdayblog
http://twitter.com/fridayblog
http://twitter.com/saturdayblog
www.youtube.com/user/naiissarachon#p/a/u/0/34ZvscsnCbA

วันที่ ๑๙ มีนาคม เวลา ๐๙๐๐-๑๑๓๐ น ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพคเมืองทองธานี ถนนแจ้งวัฒนะ จังหวัดนนทบุรี

 เรียน ทุกท่าน

สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว สนับสนุนองค์การคนพิการสากลในการจัดกิจกรรมวันสตรีสากลในวันที่ 19 มีนาคม 2553 ดังนี้

1. จัดห้องเสวนา 1 ห้อง สำหรับ 100 คน สถานที่จัดงานคือ  ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพคเมืองทองธานี ถนนแจ้งวัฒนะ จังหวัดนนทบุรี
2. ร่วมแถลงข่าวการจัดงานวันสตรีสากล ในวันที่ 16 มีนาคม 2553 (เวลาและสถานที่จะประสานภายหลัง)
3. ประชาสัมพันธ์ในชุดวันสตรีสากล
4. ขอเชิญร่วมอภิปรายบนเวทีกลาง 1 คน ในประเด็น ๑๐๐ ปี    วันสตรีสากล: จากพันธกรณี สู่สิทธิและศักดิ์ศรีสตรีไทยโดย คุณเสาวลักษณ์ ทองก๊วย
5. บูทนิทรรศการ 1 บูท
6. จัดสรรให้เชิญเครือข่ายคนองค์การคนพิการสากล จำนวน 100 คน ร่วมกิจกรรมพร้อมทั้งอาหารกลางวัน อาหารว่าง เครื่องดื่ม และค่าพาหนะสำหรับเครือข่ายใน กทม. คนละ 200 บาท

และองค์การคนพิการสากลต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายดังนี้

1. ค่าวิทยากรอภิปราย ในห้องขององค์การฯ และ 2. ค่าพาหนะสำหรับเครือข่ายขององค์การที่อยู่ต่างจังหวัด
รายละเอียดการจัดเสวนาห้องย่อยของผู้หญิงพิการ มีรายละเอียดดังนี้

 นำเสนอประเด็นของหญิงพิการในลักษณะ แง่ของการสร้างภาพลักษณ์เชิงบวกที่แสดงถึงศักดิ์ศรี ความเท่าเทียมและคุณค่าของผู้หญิงพิการที่มีต่อสังคมเช่นเดียวกับผู้หญิงไม่พิการ ดังนั้นจึงจัดวงเสวนาพูดคุย ในหัวข้อ ผู้หญิงพิการ: แรงบันดาลใจ คุณค่าและความงาม ในวันที่ ๑๙ มีนาคม เวลา ๐๙๐๐-๑๑๓๐ น ซึ่งจะทำให้เราสามารถนำเสนอทั้งแบบวิพากษ์การนำเสนอภาพของหญิงพิการที่เป็นอยู่และส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีไปพร้อมกัน โดยมีวิทยากรมาจากภาคต่าง ๆ ดังนี้

๑.      ตัวแทนหญิงพิการที่มีบทบาทในภาคธุรกิจ  โดย คุณจิณฑาทิพ ศิลโสภิต

๒.    ตัวแทนหญิงพิการที่มีบทบาทในภาคการเมือง การปกครองหรือวิชาการ  โดย คุณอรุณี ลิ้มมณี

๓.     ตัวแทนหญิงพิการที่มีบทบาทในวงการสื่อสารมวลชนหรือบันเทิง โดย คุณจันทร์จิรา เอกอารีย์จิตต์

๔.     ตัวแทนหญิงพิการที่มีบทบาทในภาคประชาสังคม ซึ่งเป็นหญิงพิการ โดย คุณพนมวรรณ บุญเต็ม

พิธีกรโดย คุณจอมขวัญ หลาวเพ็ชร



--
โปรดอ่านบล็อก
http://www.pridiinstitute.com
http://www.nakkhaothai.com
http://apps.facebook.com/blognetworks/index.php
http://www.roundfinger.com/
http://twitter.com/sweetblog
http://twitter.com/oknewsblog
http://twitter.com/okblogger
http://twitter.com/sat191
http://www.pacc.go.th/
http://twitter.com/okblogchan
http://twitter.com/sun1951
http://twitter.com/smeblogger
http://twitter.com/seminarblog
http://twitter.com/sunnewsblog
http://twitter.com/okworldblog
http://twitter.com/ktblogger
http://twitter.com/sundayblog
http://twitter.com/mondayblog
http://twitter.com/tuesdayblog
http://twitter.com/wednesdayblog
http://twitter.com/thursdayblog
http://twitter.com/fridayblog
http://twitter.com/saturdayblog
http://www.deepsouthwatch.org/node/687

วันศุกร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

วันที่ 5 มีนาคม เวลา 13.00-16.30 น. ที่ห้อง 401 อาคารประชุมสุข อาชวอำรุง คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ

นที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 เวลา 08:38:18 น.  มติชนออนไลน์

สัมมนาขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไทยสู่ มหา′ลัยโลก ที่ครุฯจุฬาฯ 5 มี.ค.นี้


ผู้สื่อข่าวรายงานว่า นิสิตดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดงานสัมมนาเรื่อง "การขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไทยสู่มหาวิทยาลัยโลก" ในวันที่ 5 มีนาคม เวลา 13.00-16.30 น. ที่ห้อง 401 อาคารประชุมสุข อาชวอำรุง คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพการณ์ของอุดมศึกษาไทย และการก้าวสู่มหาวิทยาลัยระดับโลก ในประเด็นการจัดอันดับสถาบันการศึกษา การบริหารจัดการอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาบัณฑิตไทยให้มีคุณภาพในระดับสากล รวมทั้งเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และประสบการณ์เกี่ยวกับแนวทางการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไทยสู่มหาวิทยาลัย ระดับโลก


มี นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดีจุฬาฯ เป็นประธานพิธีเปิดการสัมมนา และปาฐกถาพิเศษ ผู้สนใจเข้าร่วมติดต่อสำรองที่นั่ง โทร.08-1677-3440, 08-0264-4972



--
โปรดอ่านบล็อก
http://www.pridiinstitute.com
http://www.nakkhaothai.com
http://apps.facebook.com/blognetworks/index.php
http://www.roundfinger.com/
http://twitter.com/sweetblog
http://twitter.com/oknewsblog
http://twitter.com/okblogger
http://twitter.com/sat191
http://www.pacc.go.th/
http://twitter.com/okblogchan
http://twitter.com/sun1951
http://twitter.com/smeblogger
http://twitter.com/seminarblog
http://twitter.com/sunnewsblog
http://twitter.com/okworldblog
http://twitter.com/ktblogger
http://twitter.com/sundayblog
http://twitter.com/mondayblog
http://twitter.com/tuesdayblog
http://twitter.com/wednesdayblog
http://twitter.com/thursdayblog
http://twitter.com/fridayblog
http://twitter.com/saturdayblog
http://www.deepsouthwatch.org/node/687

วันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๕.๓๐ น.ณ ห้องราชาวดี โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพฯ

 ม.มหิดล ขอเชิญร่วมสัมมนา เรื่อง “แนวทางการพัฒนาศักยภาพเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของศูนย์ตรวจสอบสารต้องห้ามในนักกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล” ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๕.๓๐ น.ณ ห้องราชาวดี โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพฯ โทร. ๐-๒๓๕๔-๗๑๔๗-๙

          สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 0-2849-6208-10 mu-pr

ขอเชิญอ่าน blog.Thank you so much.
http://www.thaifreedompress.blogspot.com/
http://sunblog1951.blogspot.com/ sunday
http://blogpwd.blogspot.com/ pwd9
http://ktblog1951.blogspot.com/ pwday
http://newsblog9.blogspot.com/ news
http://bloghealth99.blogspot.com/ health
http://labour9.blogspot.com/ labour
http://www.media4democracy.com/th/
http://www.youngtelecom.org/
http://www.logex.kmutt.ac.th/
http://www.mict4u.net/thai/
http://www.chula.ac.th/visitors/thai/calendar.htm
http://www.agkmstou.com/2008/index.php
http://www.baanjomyut.com/library/lotus/index.html
http://www.asianbarometer.org/newenglish/introduction/default.htm
http://www.isriya.com/node/2809
/wordcamp-bangkok-2009-pool-party
C:\Documents and Settings\user\My Documents\ไฟล์ที่ได้รับของฉัน\issarachon1101.wma
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=hiansoon

วันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

วันศุกร์ที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๓ ระหว่างเวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. ห้อง MR ๒๒๒ ชั้น ๒ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ

 

 

 

 

 

สำหรับเจ้าหน้าที่ ¨¨¨

ใบลงทะเบียนกิจกรรม "โอริงามิ ศาสตร์ในงานศิลป์"

โดย ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

·         รู้จักโอริงามิ - พับกระดาษ

  • จากงานศิลป์สู่โลกวิทยาศาสตร์: การประยุกต์โอริงามิในทางวิทยาศาสตร์ & วิศวกรรม
  • สนุกกับกิจกรรมโอริงามิ

วันที่ ......../........../...........

วันศุกร์ที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๓   ระหว่างเวลา  ๑๓.๐๐ ๑๖.๓๐ น.

ห้อง MR ๒๒๒ ชั้น ๒ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ

ชื่อ-สกุล  .............................................................................................................................................

สถานภาพผู้สมัคร           r  ครู  อาจารย์        r  ผู้ปกครอง   

                                            r  นักเรียน    ระดับ.................................... (โปรดระบุ)

ที่อยู่  ....................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

โทรศัพท์ .............................................. โทรสาร .....................................

Email.............................. ..........................................................................

หมายเหตุ 

กิจกรรมดังกล่าวรับจำนวนจำกัด ไม่เกิน ๔๐ ท่าน

โปรดส่งแบบฟอร์มทางโทรสาร ๐-๒๓๙๒-๙๖๐๒ ภายในวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๕๓


ขอเชิญอ่าน blog.Thank you so much.
http://www.thaifreedompress.blogspot.com/
http://sunblog1951.blogspot.com/ sunday
http://blogpwd.blogspot.com/ pwd9
http://ktblog1951.blogspot.com/ pwday
http://newsblog9.blogspot.com/ news
http://bloghealth99.blogspot.com/ health
http://labour9.blogspot.com/ labour
http://www.media4democracy.com/th/
http://www.youngtelecom.org/
http://www.logex.kmutt.ac.th/
http://www.mict4u.net/thai/
http://www.chula.ac.th/visitors/thai/calendar.htm
http://www.agkmstou.com/2008/index.php
http://www.baanjomyut.com/library/lotus/index.html
http://www.asianbarometer.org/newenglish/introduction/default.htm
http://www.isriya.com/node/2809
/wordcamp-bangkok-2009-pool-party
C:\Documents and Settings\user\My Documents\ไฟล์ที่ได้รับของฉัน\issarachon1101.wma
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=hiansoon

วันที่ ๑๙-๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ

 

(ร่าง) กำหนดการ

งานประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อเยาวชน   (วทท. เพื่อเยาวชน)   ครั้งที่ ๕

รวมพลังต้นกล้าวิทย์  สร้างแนวคิดแห่งปัญญา

วันที่ ๑๙-๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓  ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ

 

เวลา

วันศุกร์ที่ ๑๙ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๓

วันเสาร์ที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

๐๗.๓๐- ๐๘.๑๕ น.

ลงทะเบียน  บริเวณหน้าห้อง Grand Hall ชั้น ๒

การเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ ช่วงที่ ๒

(ระหว่างเวลา ๘.๓๐-๐๙.๒๐ น.)

๐๘.๓๐-๐๘.๔๕ น.

พิธีเปิด และ มอบโล่

ณ ห้อง Grand Hall  ๒๐๑ - ๒๐๒

๐๘.๔๕-๐๙.๓๐ น.

การบรรยายพิเศษ  บทบาทของวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ    

ณ ห้อง Grand Hall  ๒๐๑ - ๒๐๒

- การเสนอผลงานแบบบรรยาย (ช่วงที่ ๓)

- การบรรยาย เรื่อง การเขียนบทความทางวิชาการ

- การอบรมปฏิบัติการหนังสือวิทยาศาสตร์ทำมือ

  โดย คณะวิทยากรจากชมรมนักเขียนและผู้จัดทำ

   หนังสือวิทยาศาสตร์  (นจวท.)

๐๙.๓๐-๐๙.๔๕ น.

ประธานในพิธีตัดริบบิ้น   เปิดนิทรรศการ  GH ๒๐๓

และชมโปสเตอร์ผลงานวิจัย นิสิต นักศึกษา

บริเวณหน้าห้อง Grand Hall

พัก ๒๐ นาที

๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น.

การเสวนาพิเศษ หลากมุมมองนักวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อม และภัยธรรมชาติ กับชีวิตมนุษย์ในปัจจุบัน

โดย 

ศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ ปัญหา

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาประจำปี ๒๕๕๒                      

ประธานสมาคมหอยนานาชาติ

รองศาสตราจารย์ ดร.เป็นหนึ่ง วานิชชัย

ผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดินไหว

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์

นักวิทยาศาสตร์สตรีไทยคนแรกร่วมสำรวจ

ทวีปแอนตาร์กติกกับญี่ปุ่น

ดร.เครือวัลย์ จันทร์แก้ว

นักธรณีวิทยาที่ค้นพบสึนามิโบราณในประเทศไทย

ดำเนินรายการ โดย

ดร.นำชัย  ชีววิวรรธน์

นักวิทยาศาสตร์ด้านไบโอเทค

- การเสนอผลงานแบบบรรยาย (ช่วงที่ ๔)

- การบรรยาย เรื่อง การเขียนบทความทางวิชาการ

- การอบรมปฏิบัติการหนังสือวิทยาศาสตร์ทำมือ

  โดย คณะวิทยากรจากชมรมนักเขียนและผู้จัดทำ

   หนังสือวิทยาศาสตร์  (นจวท.)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น.

พักรับประทานอาหารกลางวัน

 

หมายเหตุ การประกาศผลรางวัล โปสเตอร์ดีเด่นสาขาต่างๆ ในวันเสาร์ที่ ๒๐ มีนาคม  พ.ศ. ๒๕๕๓ เวลา ๑๒.๐๐ น.

 

 

- ๒ -

 

เวลา

วันศุกร์ที่ ๑๙ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๓

วันเสาร์ที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

๑๓.๐๐-๑๖.๓๐ น.

กิจกรรมพับกระดาษ โอริงามิ ศาสตร์ในงานศิลป์

โดย ดร.บัญชา  ธนบุญสมบัติ นักวิทยาศาสตร์

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

- การมอบรางวัล โปสเตอร์ดีเด่นสาขาต่างๆ

- การบรรยายพิเศษ

ธรรมะ VS วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โดยท่านมหาวุฒิชัย วชิรเมธี

- ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง การเขียนบทความทางวิชาการ

- การอบรมปฏิบัติการหนังสือวิทยาศาสตร์ทำมือ

  โดย คณะวิทยากรจากชมรมนักเขียนและผู้จัดทำ

   หนังสือวิทยาศาสตร์  (นจวท.)

๑๓.๐๐-๑๔.๒๐ น.

การนำเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยาย (ช่วงที่ ๑)

๑๔.๒๐-๑๕.๐๐ น.

การนำเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ รอบที่ ๑

๑๕.๐๐-๑๖.๐๐ น.

การนำเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยาย (ช่วงที่ ๒)

๑๖.๐๐-๑๗.๓๐ น.

กิจกรรมแนะแนวการศึกษาต่อ

โดย สมาคมนักเรียนทุนโครงการพัฒนาและส่งเสริม

ผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ผู้เสนอผลงานรับเกียรติบัตรการเสนอผลงาน

 

นอกจากกิจกรรมหลักดังกล่าวแล้ว  ยังมีกิจกรรมคู่ขนานในห้องต่างๆ อาทิ

-  กิจกรรมสาธิตแนวทางการประดิษฐ์สื่อการสอนและเครื่องมือทดลองวิทยาศาสตร์ โดย รศ.โช สาลีฉัน

-  กิจกรรมสาธิต กิจกรรม hand-on  และปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ อื่นๆ อีกมากมาย

-  นิทรรศการด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เน้นการลงมือปฏิบัติการ

-  นิทรรศการประชาสัมพันธ์การศึกษาต่อด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปรับปรุงเมื่อ  5 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 13.00 น.


ขอเชิญอ่าน blog.Thank you so much.
http://www.thaifreedompress.blogspot.com/
http://sunblog1951.blogspot.com/ sunday
http://blogpwd.blogspot.com/ pwd9
http://ktblog1951.blogspot.com/ pwday
http://newsblog9.blogspot.com/ news
http://bloghealth99.blogspot.com/ health
http://labour9.blogspot.com/ labour
http://www.media4democracy.com/th/
http://www.youngtelecom.org/
http://www.logex.kmutt.ac.th/
http://www.mict4u.net/thai/
http://www.chula.ac.th/visitors/thai/calendar.htm
http://www.agkmstou.com/2008/index.php
http://www.baanjomyut.com/library/lotus/index.html
http://www.asianbarometer.org/newenglish/introduction/default.htm
http://www.isriya.com/node/2809
/wordcamp-bangkok-2009-pool-party
C:\Documents and Settings\user\My Documents\ไฟล์ที่ได้รับของฉัน\issarachon1101.wma
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=hiansoon

วันศุกร์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2553 เวลา 13.00 - 16.30 น. ณ ห้องดวงกมล ชั้น 2 โรงแรมสยามซิตี้ ถนนศรีอยุธยา

เวทีสาธารณะ เรื่อง เรตติ้งภาพยนตร์ : เครื่องมือป้องกันเยาวชนติดบุหรี่ 5 มี.ค. 53 รร.สยามซิตี้

  

เวทีสาธารณะ

เรื่อง เรตติ้งภาพยนตร์ : เครื่องมือป้องกันเยาวชนติดบุหรี่

วันศุกร์ที่ 5 มีนาคม 2553 เวลา 13.00- 16.30 น.

ณ ห้องดวงกมล โรงแรมสยามซิตี้

 

จัดโดย

สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล

ร่วมกับ

มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

 

 

            ใน ปัจจุบันแม้ว่าภาพยนตร์จะไม่ใช่ตัวการสำคัญหลักในการกระตุ้นให้เกิดการริ เริ่มสูบบุหรี่ในกลุ่มเยาวชนก็ตาม แต่จากการศึกษาที่ผ่านมาก็ไม่อาจปฏิเสธอิทธิพลของภาพยนตร์ที่มีผลในการชัก จูงให้เกิดพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเยาวชนได้ จากผลการศึกษาวิจัยขององค์การอนามัยโลก (WHO) ในสหรัฐปี 1999-2006 (8 ปี) พบว่า ผู้ชมวัยรุ่นอายุ 12 - 17 ปี มีร้อยละ 20 ของ 45 ล้านคน คิดเป็นจำนวน 8.8 ล้านคน เฉลี่ยจะมีเด็กวัยรุ่นชมภาพยนตร์ปีละ 1. 1 ล้านคน

 

หากมีภาพบุหรี่ปรากฏในหนัง เท่ากับว่า จะมีวัยรุ่นในกลุ่มนี้เห็นบุหรี่ปีละ 1. 1 ล้านคน

 

             จากผลการศึกษา เรื่อง Character Smoking in Top Box Office Movies โดย American Legacy Foundation และ Smoke-free Movies : from Evidence to Action โดย WHO พบว่า

 

·         ในปี 1999 2006 มีการปรากฏตัวบุหรี่ในหนังทั้งเรตกลุ่มเยาวชน (Youth Rated) และ กลุ่มผู้ใหญ่ (Adult Rated) รวมกัน 8,400 ครั้ง โดยจำแนกเป็นเรต G ร้อยละ 3 เรต PG 13 ร้อยละ 29 และ เรต R ร้อยละ 68

·         ใน ขณะที่มีตัวเลขของการศึกษา ในระหว่างปี 1996 -2005 ถึงแม้ว่า ตัวเลขการปรากฏตัวของภาพบุหรี่ในหนังจะมีค่าเฉลี่ยลดลง แต่เมื่อย้อนกลับไปดูตัวเลขในกลุ่มเรตหนังสำหรับเยาวชนพบว่ามีตัวเลขสูงขึ้น ถึงร้อยละ 12 คือจาก 238 เรื่องเป็น 267 เรื่อง

 

              และจากการศึกษาของศูนย์กลางการควบคุมและป้องกันโรคในสหรัฐ พบว่า "ในช่วงที่มีการปรากฏภาพบุหรี่ในหนังมีผลต่อการเพิ่มจำนวนผู้สูบบุหรี่หน้าใหม่

 

            ทั้ง หมดเป็นเครื่องพิสูจน์และยืนยันว่า การปรากฏตัวของบุหรี่ในหนังจะเป็นช่องทางของการโฆษณาประชาสัมพันธ์บุหรี่ต่อ ผู้ชมเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะกลุ่มเด็ก เยาวชน โดยพบว่าการปรากฏตัวของบุหรี่ในภาพยนตร์นั้น ส่งผลต่อเยาวชน

 

            โดย เฉพาะช่วงวัยเด็ก 6- 12เป็นวัยที่อยากรู้อยากเห็น ยังมีลักษณะการเลียนแบบสูง เนื่องจากระบบคิดยังอยู่ในช่วงการพัฒนาความเป็นเหตุเป็นผล การแยกแยะข้อมูลที่ได้รับว่ามีความหมายเช่นไร มีแนวโน้มสูงที่จะทดลองด้วยการเลียนแบบพฤติกรรมโดยไม่เข้าใจความหมายของ พฤติกรรมนั้นๆ ในขณะที่วัยรุ่น 13- 18 ปี เป็นวัยที่มีการแสวงหาต้นแบบในอุดมคติ นักร้อง นักดนตรี ดารา เป็น Idol ของ เด็กวัยรุ่น โดยเฉพาะการนำเสนอที่สร้างภาพลักษณ์ สร้างความรู้สึกร่วม จะมีอิทธิพลมากต่อความคิดและพฤติกรรมของวัยรุ่น นอกจากนี้เด็กจะมีความต้องการเป็นแบบผู้ใหญ่ อยากแสดงพฤติกรรมเลียนแบบผู้ใหญ่เพื่อแสดงว่าตนเองโตแล้ว

 

            นอก จากนั้น ยังมีข้อยืนยันจากผลการศึกษาที่ตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ของอังกฤษ ได้ยืนยันถึงความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นกับฉากสูบบุหรี่ใน ภาพยนตร์ โดยได้ทำการสำรวจเด็กอเมริกันจำนวน 5,000 คน ที่มีอายุระหว่าง 9- 15 ปี ได้ผลการศึกษาที่สำคัญ 2 ประการ

 

ประการที่ 1 เด็กวัยรุ่นที่ชื่นชอบดาราที่สูบบุหรี่ในการแสดงภาพยนตร์มีแนวโน้มที่จะมีทัศนคติที่ดีต่อการสูบบุหรี่สูงกว่าเด็กทั่วไปถึง 16 เท่า

 

ประการที่ 2 หลังจากจัดให้มีการควบคุมปัจจัยอื่นๆ เช่น การที่มีพ่อ แม่ สูบบุหรี่แล้ว ผลการวิจัยยังชี้ชัดว่าเด็กวัยรุ่นที่เคยดูภาพยนตร์ที่มีฉากสูบบุหรี่ให้ เห็นบ่อยครั้งมีแนวโน้มที่จะลองสูบบุหรี่สูงกว่าเด็กทั่วไปถึง 3 เท่า

 

            ใน ขณะเดียวกัน ข้อสรุปทางวิชาการทั้งจากประเทศ สหรัฐ อังกฤษ แคนาคา ออสเตรเลีย ฮ่องกง เยอรมัน ที่ได้ศึกษาในเชิงพฤติกรรมการเรียนรู้ของกลุ่มผู้ชมกับความสัมพันธ์ด้าน บุหรี่ในภาพยนตร์ พบว่า "บุหรี่ในภาพยนตร์มีผลโดยตรงต่อการเริ่มต้น สูบบุหรี่ในกลุ่มเด็ก เยาวชน ทัศนคติที่ดีต่อภาพของบุหรี่ในฐานะของบรรทัดฐานทางสังคมและวัฒนธรรมการใช้ ชีวิตปกติทั่วไป โดยเฉพาะผู้สูบบุหรี่เป็นดารานำมีผลอย่างมากทัศนคติเชิงบวกในการสูบบุหรี่"

 

            จึง ไม่อาจปฏิเสธได้ว่า การปรากฏตัวของบุหรี่ในหนังนั้นส่งผลต่อการเรียนรู้เชิงพฤติกรรมต่อเด็ก เยาวชน ทั้งกลุ่มเด็กโตที่ยังมีพัฒนาการด้านวิจารณญาณน้อยกว่าผู้ใหญ่ ยังไม่สามารถแยกแยะบทบาทสมมุติในการสูบบุหรี่ของตัวละครได้ดีเท่ากับผู้ใหญ่ ในขณะเดียวกัน ในช่วงวัยรุ่น ความต้องการเลียนแบบต้นแบบเป็นประเด็นสำคัญ อีกทั้ง การต้องการแสดงตัวตนเป็นผู้ใหญ่ ทำให้การเห็นภาพบุหรี่ในหนังอาจส่งต่อค่านิยมต่อเรื่องบุหรี่เป็นเรื่องดี และหากผู้นำเสนอภาพบุหรี่เป็นตัวเอกของเรื่อง ย่อมส่งผลต่อทัศนคติที่ดีต่อภาพลักษณ์ของบุหรี่

            ดังนั้นตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2545 องค์การอนามัยโลกร่วมกับแพทยสมาคมอเมริกัน สมาคมวิชาชีพแพทย์ด้านต่างๆ และโครงการ Tobacco Free Films โดย ศ.สแตน ตัน แกลนซ์ แห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกาได้เรียกร้องให้อุตสาหกรรมภาพยนตร์ยุติการส่งเสริมให้มีภาพการ สูบบุหรี่ของตัวแสดงรวมถึงภาพของผลิตภัณฑ์ที่มีเครื่องหมายยี่ห้อบุหรี่ใน ภาพยนตร์ และวันงดสูบบุหรี่โลก 31 พฤษภาคม ปี 2546 องค์การอนามัยโลก ได้กำหนดประเด็นในการรณรงค์ว่า Tobacco Free Film Tobacco Free Fashion Action! โดย องค์การอนามัยโลก ได้นำเสนอถึงแนวคิดดังกล่าวว่า การปรากฎตัวของบุหรี่ในภาพยนตร์นั้นควรปรากฎในภาพยนตร์ในกลุ่มระดับความ เหมาะสมสำหรับผู้ใหญ่ หรือ Adult Rate กล่าวคือในกลุ่มเรตติ้ง R ขึ้นไป ในขณะที่กลุ่มเด็กและเยาวชน หรือ Youth Rate กล่าวคือ ในกลุ่ม PG PG13+ นั้น ไม่ควรปรากฎภาพหรือมีการนำเสนอการใช้บุหรี่ในภาพยนตร์

             สำหรับ ประเทศไทย หลังจากมีการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ.255 1 ที่ผ่านมา โดยในมาตรา 26 ได้มีการกำหนดให้มีการตรวจพิจารณาภาพยนตร์โดยให้คณะกรรมการพิจารณาภาพยนตร์ และวีดีทัศน์กำหนดด้วยว่าภาพยนตร์ดังกล่าวจัดอยู่ในภาพยนตร์ประเภทใด 7 ประเภท ดังนี้ ( 1) ภาพยนตร์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้และควรส่งเสริมให้มีการดู (2) ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้ดูทั่วไป (3) ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้มีอายุตั้งแต่สิบสามปีขึ้นไป (4) ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้มีอายุตั้งแต่สิบห้าปีขึ้นไป (5) ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้มีอายุตั้งแต่สิบแปดปีขึ้นไป (6) ภาพยนตร์ที่ห้ามผู้มีอายุต่ำกว่ายี่สิบปีดู และ (7) ภาพยนตร์ที่ห้ามเผยแพร่ในราชอาณาจักร โดยหลักเกณฑ์ในการกำหนดว่าภาพยนตร์ลักษณะใดควรจัดอยู่ในภาพยนตร์ประเภทใดให้ เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

 

            โดย ได้นำประเด็นบุหรี่ เป็นเงื่อนไขในการพิจารณาจัดเรตด้วยเช่นเดียวกัน ดังนั้นเพื่อให้สังคมเกิดความเข้าใจ และสนับสนุนให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมภาพยนตร์เห็นความสำคัญของการ จัดเรตภาพยนตร์ และมีส่วนส่งเสริมในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้การจัดเรตภาพยนตร์สามารถป้องกันเยาวชนจากการติดบุหรี่ได้สมบูรณ์ ยิ่งขึ้น สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ และมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ จึงจัดให้มีเวทีสาธารณะเรื่อง เรตติ้งภาพยนตร์: เครื่องมือป้องกันเยาวชนติดบุหรี่ ขึ้น

 

กำหนดการจัดเวทีสาธารณะ

เรื่อง เรตติ้งภาพยนตร์ :เครื่องมือป้องกันเยาวชนติดบุหรี่

วันศุกร์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2553 เวลา 13.00 16.30 น.

ณ ห้องดวงกมล ชั้น 2 โรงแรมสยามซิตี้ ถนนศรีอยุธยา

 

จัดโดย

สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล

ร่วมกับ

มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

 

 

 

 13.00 - 13.30 น. ลงทะเบียน

 13.30 - 14. 15 น. การนำเสนอข้อมูล

·         การจัดเรตติ้งภาพยนตร์ ตามพรบ.ภาพยนตร์และวีดีทัศน์พ.ศ.255 1

โดย คุณสมชาย เสียงหลาย เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม

แห่งชาติ

พลังของภาพยนตร์ที่บริษัทบุหรี่ไม่เคยมองข้าม

      โดย ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

·         ทำไมภาพยนตร์จึงกลายเป็น หนังหน้าไฟ(แช็ค)

      โดย นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

 14. 15 15.30 น.        เปิดเวทีสาธารณะ โดยผู้มีบทบาทสำคัญในวงการภาพยนตร์

·         คุณสุวรรณี ชินเชี่ยวชาญ รองกรรมการผู้จัดการบริษัทเอส เอฟซินีมา จำกัด

·         คุณพิทยากร ลีลาภัทร ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บริษัทแคททาลิสต์ฯ (ประเทศไทย)

·         คุณชัยวัฒน์ ทวีวงษ์แสงทอง สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งประเทศไทย

·         มรว.เฉลิมชาตรี ยุคล ผู้บริหารบริษัทพร้อมมิตรภาพยนตร์

·         คุณอัญญาอร พาณิชพึ่งรัถ ประธานเครือข่ายพ่อแม่เฝ้าระวังสื่อ

·         อาจารย์อิทธิพล ปรีติประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล

 15.30 - 16.30 น.         เปิดเวทีสาธารณะจากที่ประชุม

 16.30 น.                       จบการประชุม

 

 

 

ผู้ดำเนินรายการโดย พญ.พรรณพิมล หล่อตระกูล และ(คุณเอิร์ท ) ศัลย์ อิทธิสุขนันท์

 

 

 

ต้องการรายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาติดต่อคุณสถาพร โทร.081-570-6408 , 02-278-1828
ขอเชิญอ่าน blog.Thank you so much.
http://www.thaifreedompress.blogspot.com/
http://sunblog1951.blogspot.com/ sunday
http://blogpwd.blogspot.com/ pwd9
http://ktblog1951.blogspot.com/ pwday
http://newsblog9.blogspot.com/ news
http://bloghealth99.blogspot.com/ health
http://labour9.blogspot.com/ labour
http://www.media4democracy.com/th/
http://www.youngtelecom.org/
http://www.logex.kmutt.ac.th/
http://www.mict4u.net/thai/
http://www.chula.ac.th/visitors/thai/calendar.htm
http://www.agkmstou.com/2008/index.php
http://www.baanjomyut.com/library/lotus/index.html
http://www.asianbarometer.org/newenglish/introduction/default.htm
http://www.isriya.com/node/2809
/wordcamp-bangkok-2009-pool-party
C:\Documents and Settings\user\My Documents\ไฟล์ที่ได้รับของฉัน\issarachon1101.wma
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=hiansoon

ผู้ติดตาม

คลังบทความของบล็อก